ชุมชนนักปฏิบัติ แผลและออสโตมี (wound and ostomy) ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช ได้จัดทำวิดีโอเรื่อง “แนวปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ” เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ ความหมายของแผลกดทับ  ลักษณะของแผลกดทับ การป้องกันแผลกดทับบริเวณปุ่มกระดูก จุดเสี่ยง อาการแรกก่อนเกิดแผลกดทับ การทดสอบรอยแดง การลดแรงกดโดยการใช้ที่นอนกระจายแรงกด จัดท่านอนหงายศีรษะสูง 30 องศา ยกส้นเท้าลอยโดยใช้หมอนหรือผ้ารองใต้น่อง ใช้ผ้ารองยกตัว พลิกตะแคงตัวอย่างน้อยทุก 2 ชม นอนตะแคง 30 องศา กรณีที่ไม่สามารถพลิกตะแคงตัว 30 องศา เช่น ผู้ป่วยที่มีค่าความดันเลือดแดงเฉลี่ยน้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท ผู้ป่วยที่มีข้อจำกัดในการเปลี่ยนท่า เป็นต้น ให้ใช้วิธีการลดแรงกดโดยตะแคงตัว 15 องศา หรือ mini turn

 

สงวนสิทธิ์ ห้ามทำสำเนา ทำการเปลี่ยน หรือทำขึ้นใหม่ด้วยวิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นบางส่วน หรือทั้งหมด โดยไม่ได้รับอนุญาต จากคณะแพทยศาสตร์ศศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และชมรมพยาบาลออสโตมีและแผล ศิริราช

ผู้จัดทำ
พว.วรรณิภา  อำนาจวิชญกุล  (งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ฯ)
พว.ละมัย  โมรา  (งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ฯ)
พว.จุฬาพร   ประสังสิต  (งานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล)
พว.กาญจนา  รุ่งแสงจันทร์ (งานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล)

ผู้จดบันทึก/ผู้ตรวจสอบเนื้อหา/Facilitator
พว.กาญจนา รุ่งแสงจันทร์

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม
owcsiriraj@gmail.com

 

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.