บันทึกอย่างไรให้ได้เรื่อง

      ความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) นับว่าเป็นสิ่งสำคัญ หากไม่เห็นความสำคัญ ไม่มีกระบวนการจัดเก็บความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดเป็นความรู้ที่พร้อมใช้ ดังนั้นจึงควรมีบุคคลที่ทำหน้าที่ในการสกัดและบันทึกความรู้เหล่านี้ ให้เป็นความรู้ที่พร้อมใช้งาน จัดเก็บและสามารถเข้าถึงได้ง่าย

สัมภาษณ์ ศ. นพ.วีรศักดิ์ เมืองไพศาล : KM เพื่อบูรณาการทีมงาน ให้บริการผู้สูงอายุ

ศ. นพ.วีรศักดิ์ เมืองไพศาล  จากคลินิกผู้สูงอายุ ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ได้รับรางวัลโครงการติดดาว ประเภทหน่วยงานดีเด่นดาวทอง ได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับประสบการณ์การนำ KM ไปใช้ในการพัฒนาหน่วยงานอย่างไรนั้น สามารถติดตามรับชม และอ่านบทความได้นะคะ ดาวน์โหลดวิดีทัศน์ >> ดาวน์โหลดบทความ […]

KM เพื่อบูรณาการทีมงาน ให้บริการผู้สูงอายุ

Community of Practice (CoP) งานการพยาบาลศัลยศาสตร์และศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์

ถอดบทเรียน Community of Practice (CoP) งานการพยาบาลศัลยศาสตร์และศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์        เริ่มเมื่อปี 2546 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้นำการจัดการความรู้ (KM) มาใช้ในคณะฯ  […]

บุคคลคุณภาพประจำปี 2560 – ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงสุวรรณี สุรเศรณีวงศ์

บุคคลคุณภาพประจำปี 2560 – ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงกนกวลัย กุลทนันทน์

World Café เปิดใจเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

สภากาแฟ หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ World Café เป็นกิจกรรม